Русские видео

Сейчас в тренде

Иностранные видео


Скачать с ютуб อาคารรับแผ่นดินไหวฉบับคนทั่วไป: ริกเตอร์คืออะไร และ ทำไมตึกต้องเหนียว? в хорошем качестве

อาคารรับแผ่นดินไหวฉบับคนทั่วไป: ริกเตอร์คืออะไร และ ทำไมตึกต้องเหนียว? 1 день назад


Если кнопки скачивания не загрузились НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru



อาคารรับแผ่นดินไหวฉบับคนทั่วไป: ริกเตอร์คืออะไร และ ทำไมตึกต้องเหนียว?

ติดตามเราที่ facebook :   / curiositychannelth   กลุ่ม facebook :   / kpaj6rtevktxarwd   Blockdit : https://www.blockdit.com/curiositycha... Tiktok :   / curiositychannelth   ติดต่องาน : [email protected] สั่งซื้อแว่น Ophtus ได้ที่   / ophtus   ใช้โค้ด SONGSAI เพื่อรับส่วนลด 100 บาท ช่องคนช่างสงสัยได้จัดแคมเปญร่วมกับ https://futureskill.co/ Platform การเรียนรู้ทักษะในยุคอนาคต เช่น การเขียนโปรแกรม , เขียนเว็บไซต์ , การตัดต่อวีดีโอ , Content Creative , Data analytic ฯลฯ 1. แพ็คเกจบุฟเฟ่ต์ 1 ปี - ส่วนลด 50% จาก 9948 เหลือ 4974 บาท โค้ดส่วนลด : AFFXCC หรือคลิกที่ลิ้ง https://fskill.co/Aoag 2. แพ็คเกจรายคอร์ส - ส่วนลด 100 บาท คอร์สเรียนเดี่ยว คอร์สใดก็ได้ ลดเพิ่มจากราคาลดแล้วจากราคาขายบนหน้าเว็บไซต์ โค้ดส่วนลด : AFFXCC100 หรือคลิกที่ลิ้ง https://fskill.co/Aoal 3. แพ็คเกจ Superclass - ส่วนลด 100 บาท ลดเพิ่มจากราคาลดแล้วจากราคาขายบนหน้าเว็บไซต์ โค้ดส่วนลด : AFFXCC100 หรือคลิกที่ลิ้ง https://fskill.co/Aoam คลาส Wining your brand with grit เอาชนะอุปสรรคในการสร้างแบรนด์แบบ "กัดไม่ปล่อย" โดย คุณ รวิศ หาญอุตสาหะ https://page.futureskill.co/winning-y... โค้ดส่วนลด : AFFXCC100 Friendly Gym ฟิตเนส บางพลี   / friendlygymsmt9   ---------------------------------------- “ตึกในกรุงเทพฯ รับแรงแผ่นดินไหวได้กี่ริกเตอร์?” คำถามนี้ดูเหมือนจะง่าย แต่คำตอบ...มันไม่ง่ายอย่างที่คิด เพราะ “ริกเตอร์” อาจไม่ใช่คำตอบที่ใช่ทั้งหมด! ในคลิปนี้ เราจะพาเพื่อนๆ ไปรู้จักกับ พฤติกรรมของอาคารเมื่อเผชิญแผ่นดินไหว แบบเข้าใจง่าย เนื้อหาแน่น ละเอียดในระดับวิศวกร แต่เล่าให้ฟังเหมือนเพื่อนคุยกัน ไม่ต้องมีพื้นฐานอะไรก็ดูรู้เรื่องแน่นอน เราเริ่มจากคำถามง่ายๆ ว่า แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น มีผลกระทบต่ออาคารยังไงบ้าง? ตึกจะพังไหม? ตึกที่เราอยู่ตอนนี้ปลอดภัยหรือเปล่า? และที่สำคัญ... “ถ้ามีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น เราควรวิ่งหนี หรือควรหมอบใต้โต๊ะ?” ริกเตอร์ไม่ใช่หน่วยวัด แต่เป็นชื่อของ “มาตรวัดขนาด” พลังงานแผ่นดินไหว! ความแตกต่างระหว่าง "ริกเตอร์", "แมกนิจูด", "เมร์กัลป์ลี" และ "ชินโดะ" (แต่ละอันวัดอะไร แล้วทำไมข่าวแต่ละที่ใช้ไม่เหมือนกัน?) ทำไมแผ่นดินไหว “ขนาดเล็ก” ถึงทำลายล้างได้มากกว่าแผ่นดินไหว “ขนาดใหญ่”? ตึกในไทยรับแผ่นดินไหวได้แค่ไหน? แล้วกรุงเทพฯ ล่ะ ปลอดภัยจริงไหม? ทำไม “ตึกเอน” ถึงดีกว่า “ตึกไม่เอน”? แล้ว “ตึกเหนียว” คืออะไร? หลักการออกแบบอาคารสมัยใหม่ในไทย ที่เน้นให้ “ตึกรอด...แม้จะร้าว!” การออกแบบอาคารในมุมของวิศวกรโครงสร้าง โดยแยกเป็น “ตึกแข็ง” กับ “ตึกเหนียว” ที่มีแนวคิดคนละขั้ว ตึกแข็งเน้นต้านแรงโดยไม่เอนเลย ขณะที่ตึกเหนียวเอนได้เหมือนต้นไม้ลู่ลม และความจริงก็คือ... มาตรฐานอาคารไทยตอนนี้เน้นออกแบบให้ “ตึกเหนียว” เพราะมันปลอดภัยต่อชีวิตมากกว่า แม้จะต้องซ่อมหลังเกิดเหตุ การสั่นของดินที่ส่งผลกับตึกต่างกันไปตาม "ชนิดของดิน" และ "ความสูงของอาคาร" เหตุผลว่าทำไมตึกในกรุงเทพถึงปลอดภัยจากการล้ม แม้จะอยู่ในพื้นที่เสี่ยงปานกลาง?

Comments