Из-за периодической блокировки нашего сайта РКН сервисами, просим воспользоваться резервным адресом:
Загрузить через dTub.ru Загрузить через ycliper.com Загрузить через ClipSaver.ruУ нас вы можете посмотреть бесплатно เจ้าอนุวงศ์เป็นใคร ทำไมได้ชื่อว่าเป็น “กบฎ” สรุปสงครามเจ้าอนุวงศ์ไทย-ลาว|Story of Guide или скачать в максимальном доступном качестве, которое было загружено на ютуб. Для скачивания выберите вариант из формы ниже:
Роботам не доступно скачивание файлов. Если вы считаете что это ошибочное сообщение - попробуйте зайти на сайт через браузер google chrome или mozilla firefox. Если сообщение не исчезает - напишите о проблеме в обратную связь. Спасибо.
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru
เจ้าอนุวงศ์ หรือ เจ้าอนุ พระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลําดับ 5 หรือองค์สุดท้าย ปกครองในราวพ.ศ.2348-2371ไดร้ับการยกย่องเป็นพระมหาวีรกษัตริย์และมหาราชของประเทศลาวในฐานะ ผู้พยายามกอบกู้เอกราชจากการเป็นประเทศราชสยาม เจ้าอนุวงศ์เป็นพระราชโอรสลําดับ 3 ของสมเด็จพระเจ้า สิริบุญสาร กษัตริย์ล้านช้างเวียงจันทน์ มารดาเป็นชาวนครหลวงเวียงจันทน์ สําหรับเหตุการณ์ที่บอกว่าเจ้าอนุวงศ์เป็นกบฏนั้น เกิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2368 ครั้นที่เจ้าอนุวงศ์เสด็จถวาย พระเพลิงพระบรมศพ รัชกาลที่ 2 นั่นคือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ของสยาม พระราชพงศาวดาร สยาม ระบุว่าเจ้าอนุวงศ์ ทรงพิจารณาว่ากองทัพสยามอ่อนแอเนื่องจากแม่ทัพนายกองรุ่นเก่าที่มีฝีมือสิ้นชีวิตหลาย คน และมีข่าวลือถึงนครหลวงเวียงจันทน์ว่า สยามกับอังกฤษวิวาทกัน จากการทําสนธิสัญญาเบอร์นี เจ้าอนุวงศ์จงึ ทูลขอพระราชทานละครในของเวียงจันทน์ นั่นคือเจ้าหญิงลาวพระนามว่า เจ้านางดวงคํา และชาวลาวที่ถูกกวาด ต้อนมาสยามสมัยธนบุรีให้กลับคืนเวียงจันทน์ต่อกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ซึ่งได้รับสถาปนาขึ้นเป็นร.3 แต่ไมไ่ด้รับ อนุญาตด้วยเหตุนี้จึงเป็นเหตุให้พระองค์ไม่พอพระทยั จึงยกทัพลงมาโดยตั้งใจเข้าโจมตีกรุงเทพฯ #เจ้าอนุวงศ์ #ประวัติศาสตร์ #ลาว Cr.คลิปวีดีโอบางส่วนจาก tiktok : pum amata : เรื่องกำเนิดลาวอีสาน “วีดีโอที่เกี่ยวข้อง” การสักเลข ของไพร่ ทาส ในสมัย อยุธยา - รัตนโกสินทร์ |Story of Guide • การสักเลข ของไพร่ ทาส ในสมัย อยุธยา - รัตน... พระบาง กับ พระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่อริ|เปิดบันทึกพงศาวดาร|Story of Guide • พระบาง กับ พระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่อริ|เป... “ช่องทางติดต่อเพิ่มเติม” ID line : guideaon Tiktok : www.tiktok.com/@aon_tour Facebook page : https://www.facebook.com/finnstouralw... IG : https://instagram.com/aon.tour?igshid... ข้อมูลอ้างอิง อ้างอิง [1] สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ. (กรุงเทพฯ : คลัง วิทยา, 2505), น. 256, 277, 600-604. [2] มหาคํา จําปาแก้วมณี และคณะ. ประวัติศาสตร์ลาว. แปลโดยสุวิทย์ ธีรศาศวัต. (ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2539), น. 77. [3] โปรดดูรายละเอียดในสุวิทย์ ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตร์อีสาน 2322-2488. (ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2549), บทที่ 7 น. 213-260. [4] Andrew Heritage. World Atlas. (London : Dorling Kindersley Ltd., 2005), p. 214 [5] จดหมายเรื่องปราบกบฏเวียงจันทน์. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพพระยาอมเรนทรมนตรี (เจิม บุรานนท์) 4 กุมภา พันธ์ 2479, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร), น. 3-4. [6] มยุรี และเผยพัน เหง้าสีวัทน์ “เจ้าอนุฯ เรื่องเก่าปัญหาใหม่,” ใน ศิลปวัฒนธรรม 9 (11) กันยายน 2531 น. 3-4. [7] เจ้าพระยาทิพากรวงศ์. พระราชพงศาวดารกรุงรัตน โกสินทร์ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา, 2505), น. 32, 45, 65, 125, 140. [8] สุวิทย์ ธีรศาศวัต. อ้างแล้ว, น. 177. [9] หม่อมเจ้าทับ. นิราศเวียงจันทน์. (กรุงเทพฯ : มติชน), 2544; จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 เล่ม 3 อ้างแล้ว, น. 21-119. [10] จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 เล่ม 3 เพิ่งอ้าง, น. 40, 45, 106-107. [11] จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 เล่ม 3. (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร) 2530 น. 53; สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. ไทยรบพม่า. (กรุงเทพฯ : คลังวิทยา), 2505, น. 666-772. และจดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 จ.ศ. 1187 เลขที่ 5/ข; หสช. ร.3 จ.ศ. 1187 เลขที่ 13, จ.ศ. 1189 เลขที่ 4. [12] จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 จ.ศ. 1187 เลขที่ 5/ข; จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 เล่ม 3 อ้างแล้ว, น. 37, 129-130. [13] บทสัมภาษณ์มาจากงาน “สโมสรศิลปวัฒนธรรม” จัดเสวนาหัวข้อ “ตามรอยเส้นทางเดินทัพไทย ในศึกเจ้า อนุวงศ์” มีวิทยากร ได้แก่ นายศานติ ภักดีคํา, นายกําพล จําปาพันธ์, สมชาย ปรีชาเจริญ (จิตร ภูมิศักดิ์) เมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2559