Из-за периодической блокировки нашего сайта РКН сервисами, просим воспользоваться резервным адресом:
Загрузить через dTub.ru Загрузить через ClipSaver.ruУ нас вы можете посмотреть бесплатно วิธีวัดไดโอดบริดจ์ดีเสีย เร็วๆ จับขาเป็นคู่ วัดขา AC กับ AC ต้องไม่ขึ้นเลย ดูคำอธิบายใต้คลิบเพิ่ม или скачать в максимальном доступном качестве, которое было загружено на ютуб. Для скачивания выберите вариант из формы ниже:
Роботам не доступно скачивание файлов. Если вы считаете что это ошибочное сообщение - попробуйте зайти на сайт через браузер google chrome или mozilla firefox. Если сообщение не исчезает - напишите о проблеме в обратную связь. Спасибо.
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru
ไดโอดบริด การวัดไดโอดบริดจ์ เร็ว ๆ 3 ขั้นตอนง่าย ๆ ให้เล็งไปที่ขา AC กับ AC และ ขา + กับ - คือ ให้จับขา เป็นคู่ ๆ วัดขา 2 คู่นี้ให้ผ่านก่อนเป็นขั้นแรก ถ้าวัดไม่ผ่านขั้นแรกนี้แล้วคือเสีย ไม่ต้องเสียเวลาวัดต่อ 1) วัดขา AC กับ AC ต้องไม่ขึ้นเลยสักครั้ง ถ้าขึ้นคือเสียช๊อต มันกั้นไฟ AC L กับ N ไม่ให้ถึงกัน 2) วัดขา + กับ - จะขึ้น 1 ครั้งคือตอนที่ไบอัสตรงถ้าใช้โหมดวัดไดโอดจะมีแรงดันตกคร่อมไดโอด 2 ตัวได้ประมาณ 0.7V +0.7V = 1.4V บางเบอร์อาจได้ค่าน้อยกว่านี้เช่น 1V 0.9V เป็นต้น 3) ถ้าสลับสายวัด วัดขา + กับ - จะไม่ขึ้น 1 ครั้งคือตอนที่ขาไดโอดมันได้รับไบอัสกลับ ตอนวัดขาไฟ + และ - ให้นึกภาพจำง่ายๆว่า ไฟมันจะไหลจากขา + ไป - ได้ทิศทางเดียวคือครั้งที่มันถูกไฟไบอัสตรง มันต้องวัดขึ้นมันต้องมีแรงดันตกคร่อมไดโอดสัก 1 ครั้ง ข้างในไดโอดบริจด์จะมีไดโอด 4 ตัวต่อกันอยู่สำเร็จรูปเป็นวงจรเรียงกระแสแบบเต็มคลื่น ตัวถังจะมี 4 ขาให้ต่อใช้งาน ซึ่งสะดวกในการนำไปต่อใช้งาน พร้อมกับมีสัญลักษณ์ที่ขาระบุว่าเป็นขา AC AC + - ตัวถังที่นิยมใช้มาก เช่น 1) ตัวถัง แบบ KBPC เคสเป็นโลหะสี่เหลี่ยม ขาเสียบต้องใช้หางปลาเสียบต่อสายไฟ แบบนี้ทนแอมป์สูง เช่น 10A 25A มีรูปในคลิบ เช่น รุ่น KBPC2510 25A 1000V KBPC5010 50A 1000V เรียกสั้น ๆ ว่าแบบขาเสียบ 2) ตัวถังแบบ 4-SIP เคสเป็นพลาสติกสีดำ มี 4 ขายาวใช้บัดกรีและขาเรียงเป็นแถวช่วยประหยัดพื้นที่ของ PCB มีรูปในคลิบ เช่น รุ่น KBU610 6A 1000V GBJ5010 50A 1000V เรียกสั้น ๆ ว่าแบบขา SIP 3) ตัวถังแบบ 4-Circular หรือ WOM เคสกลม และ เป็นพลาสติกสีดำ มีขนาดเล็กเพื่อประหยัดพื้นที่ PCB และเล็กกว่าตัวถัง 4-SIP ตัวถังแบบหัวกลม WOM เช่น รุ่น W01M 1.5A 100V W02M 1.5A 200V W04M 1.5A 400V W08M 1.5A 800V W10M 1.5A 1000V 4) ตัวถังแบบ 4-DIP หรือ DFM เคสเหมือน IC สีดำ มี 4 ขายาวใช้บัดกรีลงปริ้น มีขนาดเล็กใช้กับวงจรที่เน้นขนาดมินิ เช่น รุ่น DB104 1A 400V DB207 2A 1000V เรียกสั้น ๆ ว่าแบบขา DIP ตัวถังเหมือน IC นั้นเอง 5) ตัวถังแบบ 4-SMD เคสเหมือน IC สีดำ มี 4 ขาแบบ SMD ใช้บัดกรี มีขนาดเล็กใช้กับวงจรที่เน้นขนาดมินิ เช่น รุ่น DB207S DB207 2A 1000V แบบ SMD DB107S 1A 400V แบบ SMD 6) ตัวถังแบบ Module เคสเป็นสี่เหลี่ยมและมีขนาดใหญ่ มีสีดำ สีขาว สีครีม เป็นอุปกรณ์พาวเวอร์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้น๊อตในการต่อสาย ทนแอมป์ได้สูงมาก เช่น 100A 200A 250A 300A เป็นต้น เช่น รุ่น MDQ100A 100A 1600V MQC250-16 250A 1600V เรียกสั้น ๆ ว่าไดโอดมอดูล โดยแต่ละรุ่นอาจมีไดโอดข้างใน 2 ตัวบ้าง 4 ตัวบ้าง ขึ้นอยู่กับรุ่นให้เช็คตามรุ่น อธิบายวิธีวัดที่มาของการวัดแบบนี้ วัดไดโอด บริดจ์เร็กติไฟเออร์ ดี เสีย ภายใน 10 วินาที การวัดบริดจ์ไดโอด วิธีวัดไดโอดบริด 220V บริดจ์เร็กติไฟเออร์ การวัดบริดจ์ไดโอด ต้องดูขั้วไดโอดบริดก่อนวัด #วัดไดโอด #ไดโอดบริด #บริดจ์เร็กติไฟเออร์ #วงจรเรียงกระแส