Из-за периодической блокировки нашего сайта РКН сервисами, просим воспользоваться резервным адресом:
Загрузить через dTub.ru Загрузить через ClipSaver.ruУ нас вы можете посмотреть бесплатно เช็กพฤติกรรมผู้บริโภคสื่อ เก่า vs ใหม่ или скачать в максимальном доступном качестве, которое было загружено на ютуб. Для скачивания выберите вариант из формы ниже:
Роботам не доступно скачивание файлов. Если вы считаете что это ошибочное сообщение - попробуйте зайти на сайт через браузер google chrome или mozilla firefox. Если сообщение не исчезает - напишите о проблеме в обратную связь. Спасибо.
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru
รับชมรายการเต็มได้ที่ http://shows.voicetv.co.th/inherview/... Information Overload - ข้อมูลปริมาณมากเกินพิกัดจนไม่สามารภคัดกรองได้ไหว คงปฎิเสธไม่ได้ว่า เราต่างเสพข่าวผ่านหน้าเฟสบุ๊กมากกว่ารายการโทรทัศน์ เกิดสื่อออนไลน์ใหม่หลายสำนัก ส่วนสื่อเก่าก็หันมาเล่นบนโซเชียลมีเดียกันมาขึ้น วันๆหนึ่งเราต้องอ่านข่าวมากมายเต็มไปหมด คุณ Puttasak Tantisuttivet ได้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับข่าวบนหน้าเฟสบุ๊ก และเขียนผลสำรวจลงในบล็อกของ THOTH ZOCIAL โดยแยกสื่อออกเป็น 2 แบบหลักๆ ตามความสนใจส่วนตัว แบบที่ 1 สำนักข่าวแบบดั้งเดิมที่หันมาเล่นออนไลน์ คือ 1. Khaosod- ข่าวสด, 2. Matichon Online-มติชนออนไลน์, 3. Thairath - ไทยรัฐ, 4. Dailynews เดลินิวส์, 5. แนวหน้า, 6. PostToday, 7. คมชัดลึก แบบที่ 2 สำนักข่าวออนไลน์หน้าใหม่ คือ 1. The Matter, 2. The Momentum , 3.The Standard ผลสำรวจในเดือนมิถุนายนจากทั้ง 10 เพจ พบว่า มีการโพสต์ข่าวรวมทั้งหมด 37,421 โพสต์ เฉลี่ยประมาณ 1,247 ข่าวต่อวัน ข่าวสดกับไทยรัฐก็ได้ Share of engagement ไปประมาณ 92% The Matter ได้รับการแชร์โดยเฉลี่ยมากที่สุด สำนักข่าวดั้งเดิมเน้นไปที่ข่าวอาชญากรรม คดีความต่างๆ สำนักข่าวออนไลน์เน้นไปที่ข่าวสะท้อนปัญหาสังคมและเรื่องอื่นๆ เพจสำนักข่าวดั้งเดิมมีคนในโลกเซเชียลมาแสดงความคิดเห็นที่รุนแรงกว่า เมื่อเห็นปริมาณข่าวที่อาจผ่านตาเราในแต่ละวัน ก็ไม่แปลกใจว่าทำไมหลายคนถึงไม่สามารถแยกแยะข่าวจริงข่าวปลอมได้ เพราะภาวะ Information Overload ทำให้เราได้ข้อมูลปริมาณมากเกินไป จนไม่สามารถคัดกรองไหว Source: https://goo.gl/8VY5Uv