Из-за периодической блокировки нашего сайта РКН сервисами, просим воспользоваться резервным адресом:
Загрузить через dTub.ru Загрузить через ClipSaver.ruУ нас вы можете посмотреть бесплатно รายได้ผู้สูงอายุไทยมาจากไหน ในวิกฤตโควิด-19 | ตรงประเด็น | 18 ส.ค. 65 или скачать в максимальном доступном качестве, которое было загружено на ютуб. Для скачивания выберите вариант из формы ниже:
Роботам не доступно скачивание файлов. Если вы считаете что это ошибочное сообщение - попробуйте зайти на сайт через браузер google chrome или mozilla firefox. Если сообщение не исчезает - напишите о проблеме в обратную связь. Спасибо.
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru
หากดูข้อมูลแหล่งรายได้หลักของผู้สูงอายุในช่วงการระบาดโควิด-19 จะเห็นว่า รายได้หลักมาจาก "เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ" ทั้งที่ไม่ได้มากมาย เพราะขั้นต่ำสุดอยู่ที่เดือนละ 600 บาท ก็เฉลี่ยเท่ากับวันละ 20 บาทเท่านั้น หากเทียบกับสวัสดิการของหลายประเทศ และที่น่าสนใจคือ แหล่งรายได้หลักรองลงมา มาจาก "การทำงาน" และ "ลูกหลาน" นั่นหมายความว่า การยังคงมีอาชีพหรือมีงานทำ ที่หมายถึงตัวผู้สูงอายุเองและลูกหลาน ย่อมส่งผลต่อรายได้ของผู้สูงอายุโดยตรง และโครงสร้างประชากรเวลานี้ ที่เด็กเกิดน้อยลงมาก สวนทางกับผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็กำลังกลายเป็นข้อกังวล สำหรับสังคมสูงวัย ทีมข่าว The Active ของไทยพีบีเอส พบว่าเด็กไทยเกิดมากที่สุดช่วง ปี 2514 พุ่งไปถึง 1,200,000 คน เมื่อก่อนคนกลุ่มนี้เป็นวัยแรงงาน แต่พวกเขากำลังทยอยเข้าสู่สูงวัย ขณะที่กำลังแรงงานกำลังลดลงเรื่อย ๆ ดูได้จากจำนวนเด็กเกิดล่าสุดปี 2564 มีเด็กเกิดใหม่เพียงแค่ 544,570 คนเท่านั้น สิ่งนี้ทำให้นักสังคมวิทยาออกมาแสดงความกังวลว่า สังคมจะเกิดผลกระทบใหญ่ เหมือนคลื่นสึนามิ เพราะเด็กที่จะเป็นแรงงานต้องแบกรับภาระหนัก ขณะที่รัฐก็อาจจะถังแตกถ้ามัวแต่ใช้งบประมาณแก้ปัญหาปลายทาง อย่างการให้เบี้ยคนชราทางเดียว ติดตามรายการตรงประเด็น ย้อนหลังได้ทาง http://www.thaipbs.or.th/ActiveFocus ------------------------------------------------------- กด Subscribe ติดตามรายการดี ๆ ของช่อง ได้ที่ : http://thaip.bs/YSBht5j และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่ Website : http://www.thaipbs.or.th Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBS Twitter : / thaipbs Instagram : / thaipbs LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE TikTok : / thaipbs YouTube : / thaipbs