Из-за периодической блокировки нашего сайта РКН сервисами, просим воспользоваться резервным адресом:
Загрузить через dTub.ru Загрузить через ClipSaver.ruУ нас вы можете посмотреть бесплатно TRUE จับมือภาครัฐป้องกันมิจฉาชีพก่ออาชญากรรมไซเบอร์ เพิ่มระบบใหม่ป้องกันแล้ว 10 ล้านครั้งใน1สัปดาห์ или скачать в максимальном доступном качестве, которое было загружено на ютуб. Для скачивания выберите вариант из формы ниже:
Роботам не доступно скачивание файлов. Если вы считаете что это ошибочное сообщение - попробуйте зайти на сайт через браузер google chrome или mozilla firefox. Если сообщение не исчезает - напишите о проблеме в обратную связь. Спасибо.
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru
และวันนี้ทาง NEOTECH_THAILAND จะพาเพื่อนๆมาอัพเดท TRUE จับมือภาครัฐป้องกันมิจฉาชีพก่ออาชญากรรมไซเบอร์ เพิ่มระบบใหม่ป้องกันแล้ว 10 ล้านครั้งใน1สัปดาห์ #มิจฉาชีพ #คอลเซนเตอร์ #อาชญากรรมไซเบอร์ เพื่อนๆคนใหนชอบคอนเทนต์แบบนี้ยังไงก็ฝากกด ไลค์ กดแชร์ กด subscribe ให้กำลังใจกันด้วยนะครับ TRUE ได้ออกมาตรการป้องกันภัยไซเบอร์ภายใต้ชื่อ “ทรู ไซเบอร์เซฟ – True CyberSafe" ระบบป้องกันภัยไซเบอร์จากมิจฉาชีพ ใน 4 รูปแบบ คือ ลิ้งค์แปลกปลอม ปกป้องลูกค้ามือถือทรู ดีแทค : บล็อก หรือ แจ้งเตือน เมื่อมีการเข้าถึงเว็บไซต์ที่อาจเป็นอันตราย หากลูกค้ากดเข้าไป จาก SMS หรือ บราวเซอร์ ลิ้งค์แปลกปลอม ปกป้องลูกค้าเน็ตบ้านทรูออนไลน์ : บล็อก หรือ แจ้งเตือน เมื่อมีการเข้าถึงเว็บไซต์ที่อาจเป็นอันตราย บนเว็บบราวเซอร์ SMS AI Filter : โดยจะแจ้งเตือนSMS ที่อาจเป็นมิจฉาชีพ ใช้ AI ในการประมวลพฤติกรรมของมิจฉาชีพ Call AI Filter การกรองสายเรียกเข้า : แจ้งเตือนสายเรียกเข้าที่อาจเป็นมิจฉาชีพ โดยความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและพันธมิตรเอกชน ซึ่งคาดว่าจะเปิดให้บริการอย่างเต็มระบบทุกรูปแบบราวเดือนมีนาคม 2568 อย่างไรก็ตามจากสถิติหลังจากเปิดระบบ True CyberSafe ระหว่างวันที่ 3 - 9 ธันวาคม 2567 พบข้อมูลดังนี้ จำนวนครั้งที่ลูกค้าคลิกลิงก์แปลกปลอมทั้งหมด 10,773,877 ล้านครั้ง สามารถปกป้องลูกค้าจากการคลิกลิงก์แปลกปลอมได้ถึง 10.3 ล้านครั้ง คิดเป็น 96.28% ที่ระบบสามารถปกป้องได้ อย่างไรก็ตาม TRUE ยังคงเคารพสิทธิ์ลูกค้าหากลูกค้ายังยืนยันจะคลิกเข้าลิงก์ที่ได้รับการแจ้งเตือนต่อไป ก็สามารถทำได้ โดยพบว่า จำนวนครั้งที่ลูกค้ายืนยันเข้าลิงก์แปลกปลอมอยู่ที่ 400,283 คลิก ( จาก 10,773,877 ล้านคลิก ) โดย 4 ประเภทลิงก์แปลกปลอมที่พบจากระบบ True CyberSafe ในช่วงที่ผ่านมา มีดังนี้ อันดับ 1 : มัลแวร์ – เป็นไวรัสหรือซอฟแวร์เข้ามาฝังตัวในเครื่อง เพื่อเปิดช่องทางเข้ามาควบคุมเครื่องของเรา อันดับ 2 : ฟิชชิง – เป็นการหลอกให้กรอกข้อมูลส่วนตัวหรือข้อมูลทางการเงิน เช่น รายละเอียดบัตรเครดิต หรือรหัสผ่าน อันดับ 3: หลอกลงทุน - มีการแสดงผลกำไรที่สูงเกินควร เพื่อดึงดูดความสนใจ รวมไปถึงการลงทุนในสกุลเงินดิจิทัล เช่น คริปโต อันดับ 4 : สแกม – การหลอกลวงในรูปแบบต่างๆ ทางออนไลน์ เช่น สแกมบัตรเครดิต, สแกมถูกรางวัล, สแกมค่าธรรมเนียมศุลกากร และโรแมนซ์สแกม หมายเหตุ: พบว่า 1 ลิงก์ มีมากกว่า 1 ประเภทการหลอกลวง นอกจากนี้ ยังเดินหน้าร่วมกับภาครัฐทุกภาคส่วน ในการตรวจสอบและเพิ่มลิงก์แปลกปลอมในฐานข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เพื่อบล๊อคการเข้าถึงเว็บไซต์ที่อาจเป็นอันตรายได้ อีกด้วย ขณะที่ AIS หรือ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ได้มีมาตรการป้องกันภัยไซเบอร์ให้กับลูกค้าด้วยการเปิดสายด่วน AIS Spam Report Center 1185 ฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง โดย AIS จะตรวจสอบร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการทางกฎหมายต่อไป ที่มา : https://www.thansettakij.com/technolo...