Из-за периодической блокировки нашего сайта РКН сервисами, просим воспользоваться резервным адресом:
Загрузить через dTub.ru Загрузить через ycliper.com Загрузить через ClipSaver.ruУ нас вы можете посмотреть бесплатно DB 186 (3.42 นาที ) ระบบองค์รวม – พระราชพัชรมานิต (ชยสาโรภิกขุ) или скачать в максимальном доступном качестве, которое было загружено на ютуб. Для скачивания выберите вариант из формы ниже:
Роботам не доступно скачивание файлов. Если вы считаете что это ошибочное сообщение - попробуйте зайти на сайт через браузер google chrome или mozilla firefox. Если сообщение не исчезает - напишите о проблеме в обратную связь. Спасибо.
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru
DB 186 (3.42 นาที ) ระบบองค์รวม – พระราชพัชรมานิต (ชยสาโรภิกขุ) “... อาตมาเคยสอนลูกศิษย์เรื่องการเขียนหนังสือว่า ในแต่ละประโยค คำทุกคำต้องทำงาน อยู่เฉยๆ ไม่ได้ ถ้ามีคำไหนในประโยคไม่ทำงาน ไม่มีส่วนร่วมในการสร้างความหมายให้ตัดออก …” “... สิ่งที่เป็นระบบองค์รวมก็จะมีลักษณะอย่างนี้เหมือนกัน คือว่า ไม่มีส่วนเกิน ไม่มีส่วนขาด …” “... อย่างเราเปิดคอมพิวเตอร์ ทุกสิ่งทุกอย่างในคอมพิวเตอร์ ทุกชิ้น ทุกอัน มีหน้าที่ ไม่มีอะไรที่อยู่ในนั้นแล้วอยู่เฉยๆ ไม่มีงานทำ ถ้าเราสมมติเอาส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ไปวางไว้บนโต๊ะ แล้วมาดูว่า ถ้าขาดแค่ชิ้นเดียว คอมพิวเตอร์ก้ไม่ทำงาน แม้แต่ชิ้นเล็กชิ้นน้อย ไม่น่าจะมีความสำคัญอะไรมาก คอมพิวเตอร์จะทำงานเมื่อมีชิ้นส่วนครบ 100 เปอร์เซนต์ 99 เปอร์เซนต์ไม่พอ ต้อง 100 เปอร์เซนต์ แล้วถึงจะมีชิ้นส่วนทั้งหมดครบ 100 เปอร์เซนต์ มันยังไม่ใช่คอมพิวเตอร์ใช่ไหม เราก็ต้องรู้จักวิธีประกอบ ส่วนประกอบครบแต่ไม่รู้ว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างไร มีต่อกันอย่างไร อะไรอยู่ตรงไหน มันก็ยังไม่เป็นคอมพิวเตอร์ จะได้คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานได้ 1.ชิ้นส่วนต้องครบ 2.ต้องสัมพันธ์กันในทางที่ถูกต้อง …” “... ที่กล่าวถึงคอมพิวเตอร์ก็เพราะจะเปรียบเทียบถึง คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่สรุป ในอริยมรรคมีองค์ ๘ ว่า เป็นระบบองค์รวมเหมือนกัน จะได้ผล ก็ต้องปฏิบัติให้ครบ ครบทุกข้อ เหมือนคอมพิวเตอร์ต้องครบทุกชิ้น ทุกส่วน แล้วจะต้องประกอบกันเข้าในทางที่ถูกต้อง “